แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.2561-2565)
เพิ่มเติม ครั้งที่ 9/2565
ยุทธฯ | เลขหน้า | ลำ ดับ |
ชื่อโครงการ | วัตถุประสงค์ | เป้าหมาย | งปม. 2561 |
งปม. 2562 |
งปม. 2563 |
งปม. 2564 |
งปม. 2565 |
ตัวชี้วัด | ผลที่คาด ว่าจะได้รับ |
หน่วยงานรับผิดชอบ | หมาย เหตุ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
2 | 2 | 1 | โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำ แผนพัฒนาสุขภาพระดับพื้นที่ในเขต จังหวัดสุราษฎร์ธานี | 1. เพื่อให้การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ระดับพื้นที่ในเขตจังหวัดสุราษฎร์ธานีมีการ นำไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับบริบทของแต่ละพื้นที่ได้ อย่างแท้จริง 2. เพื่อให้เกิดการบูรณาการร่วมของ ทุกภาคส่วนในการจัดทำแผนพัฒนา สุขภาพระดับพื้นที่และสอดคล้องกับ แผนพัฒนาท้องถิ่น | จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำแผน พัฒนาสุขภาพระดับพื้นที่ในเขตจังหวัด สุราษฎร์ธานี โดยดำเนินการ 1 ครั้ง ระยะเวลา 3 วัน 2 คืน กลุ่มเป้าหมาย : บุคลากรของสถานีอนามัย เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี (สอน.) และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบล(รพ.สต.)ที่สมัครใจถ่ายโอนภารกิจฯ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 291 คน | 0 | 0 | 0 | 0 | 1,695,000 | 1. การจัดทำแผน พัฒนาสุขภาพระดับ พื้นที่ในเขตจังหวัด สุราษฎร์ธานี มีประสิทธิภาพ เพิ่มมากขึ้น 2. ร้อยละ 80 ของ บุคลากรผู้เข้าประชุม มีความพึงพอใจในการ จัดประชุมเชิงปฏิบัติ การเพื่อจัดทำแผน พัฒนาสุขภาพระดับ พื้นที่สู่แผนพัฒนา ท้องถิ่น | 1. แผนพัฒนาสุขภาพระดับพื้นที่มี ประสิทธิภาพ เป็นประโยชน์ต่อคุณภาพ ชีวิตที่ดีของประชาชนในพื้นที่จังหวัด สุราษฎร์ธานี พร้อมรับการถ่ายโอน ภารกิจและขับเคลื่อนการพัฒนาการ บริการสุขภาพขั้นพื้นฐานให้แก่ ประชาชน 2. แผนพัฒนาสุขภาพระดับพื้นที่ สอดคล้องกับแผนพัฒนาท้องถิ่น | กองสาธารณสุข | |
2 | 3 | 1 | โครงการฝึกอบรมส่งเสริมอาชีพและ ให้ความรู้พืชเศรษฐกิจใหม่ "กัญชา" | 1.เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้มีอาชีพ เสริมรายได้ให้กับครอบครัว 2. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการปลูกกัญชา/กัญชงในพื้นที่ โดยไม่ผิดกฎหมาย 3. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ เรื่อง การปลูกกัญชา/กัญชงให้แก่ประชาชน แบบครบวงจร 4. เพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนให้กับ ประชาชนในจังหวัดสุราษฎร์ธานี | ฝึกอบรมส่งเสริมอาชีพและให้ความรู้ พืชเศรษฐกิจใหม่ "กัญชา" แก่วิสาหกิจ ชุมชนต่างๆ กลุ่มองค์กร และประชาชน ทั่วไป จำนวน 500 คน ระยะเวลา 2 วัน | 0 | 0 | 0 | 0 | 1,600,000 | ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ กัญชา/กัญชง ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 | 1. ประชาชนในพื้นที่ได้มีอาชีพ เสริมรายได้ให้กับครอบครัว 2. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความ เข้าใจเรื่องการปลูกกัญชา/กัญชง ในพื้นที่โดยไม่ผิดกฎหมาย 3. ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำ ความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการปลูก กัญชา/กัญชง แบบครบวงจร 4. ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนให้กับ ประชาชนในจังหวัดสุราษฎร์ธานี | กองสวัสดิการ สังคม | |
2 | 4 | 2 | โครงการจัดงานมหกรรมส่งเสริมอาชีพ พืชเศรษฐกิจใหม่ “กัญชา” | 1. เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้มีอาชีพ เสริมรายได้ให้กับครอบครัว 2. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการปลูกกัญชา - กัญชง ให้แก่ ประชาชนแบบครบวงจร 3. เพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน ให้กับ ประชาชนในจังหวัดสุราษฎร์ธานี 4. เพื่อให้เกิดความร่วมมือเชิงบูรณาการ ของส่วนราชการ ภาคเอกชน ภาคประชาชน ในการพัฒนา ยกระดับผลผลิตกัญชา- กัญชง ให้มีคุณภาพตามความต้องการ ของตลาด | จัดงานมหกรรมส่งเสริมอาชีพพืช เศรษฐกิจใหม่ "กัญชา" และนิทรรศการ ให้ความรู้ด้านอาชีพ ด้านสาธารณสุข และ ด้านนันทนาการ ให้แก่วิสาหกิจชุมชนต่างๆ กลุ่มองค์กร และประชาชนทั่วไป จำนวน 2,000 คน ระยะเวลา 2 วัน | 0 | 0 | 0 | 0 | 2,000,000 | ประชาชนรู้วิธีการ ปลูกกัญชา-กัญชง เข้าใจช่องทางการ ตลาดเพิ่มมากขึ้น | 1. ประชาชนในพื้นที่ได้มีอาชีพ เสริมรายได้ให้กับครอบครัว 2. ผู้เข้าร่วมงานมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการปลูกกัญชา-กัญชง แบบ ครบวงจร 3. ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนให้กับ ประชาชนในจังหวัดสุราษฎร์ธานี 4. เกิดความร่วมมือเชิงบูรณาการของ ส่วนราชการ ภาคเอกชน ภาคประชาชน ในการพัฒนายกระดับผลผลิตกัญชา- กัญชง ให้มีคุณภาพตามความต้องการ ของตลาด | กองสวัสดิการ สังคม | |
5 | 5 | 1 | โครงการสนับสนุนการแข่งขันกีฬาอาวุโส แห่งชาติ ครั้งที่ 4 “เสกักเกมส์” (อุดหนุนสมาคมกีฬาแห่ง จังหวัดสุราษฎร์ธานี) | 1.เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้อาวุโส ได้มีการ ออกกำลังกายและเล่นกีฬา 2.เพื่อเตรียมความพร้อมของนักกีฬาก่อนการ แข่งขันกีฬาอาวุโสแห่งชาติ 3.เพื่อให้นักกีฬาอาวุโสมีทักษะและศักยภาพในการ แข่งขันในระดับที่ดี 4. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะนักกีฬา อาวุโสจังหวัดสุราษฎร์ธานี สู่ความเป็นเลิศ 5. เพื่อสร้างชื่อเสียงในด้านกีฬาอาวุโสของ จังหวัดสุราษฎร์ธานี | สนับสนุนการแข่งขันกีฬาอาวุโสแห่งชาติ ครั้งที่ 4 "เสกักเกมส์" โดยดำเนินการ ดังนี้ 1. เก็บตัวฝึกซ้อมนักกีฬา ตามแผนการฝึก ซ้อมของผู้ฝึกสอนแต่ละชนิดกีฬา จำนวน 7 วัน 2. ส่งตัวนักกีฬาที่ผ่านการคัดเลือกเป็น ตัวแทนภาค 4 เข้าร่วมการแข่งขันกีฬา อาวุโสแห่งชาติ ครั้งที่ 4 รวมผู้ฝึกสอนและนักกีฬาจำนวนทั้งสิ้น 138 คน | 0 | 0 | 0 | 0 | 211,600 | 1. นักกีฬาและผู้ ฝึกสอนเข้าร่วมเก็บ ตัวฝึกซ้อมร้อยละ 100 2. นักกีฬาและผู้ฝึกสอน มีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 | 1.ผู้อาวุโสมีการออกกำลังกายและเล่นกีฬา มากชึ้น 2.นักกีฬาอาวุโสมีความพร้อมก่อนการแข่งขัน โดยนักกีฬามีผลการฝึกซ้อมผ่านเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจำนวนนักกีฬา 3.นักกีฬาอาวุโสมีทักษะและศักยภาพ ในการแข่งขันในระดับที่ดี 4.แนวทางการพัฒนาบริหารจัดการ การกีฬาอาวุโสสามารถยกระดับการกีฬา สู่ความเป็นเลิศ 5. ประชาชนได้รับประโยชน์ในส่วนของชื่อเสียง ในด้านการกีฬาอาวุโสในเขตพื้นที่ รวมถึงสุขภาพที่ แข็งแรงสมบูรณ์และทักษะด้านการกีฬา ในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น | กองการท่องเที่ยว และกีฬา | |
5 | 6 | 2 | โครงการสนับสนุนการแข่งขันกีฬาเยาวชน แห่งชาติ ครั้งที่ 37 “พัทลุงเกมส์” (อุดหนุนสมาคมกีฬาแห่ง จังหวัดสุราษฎร์ธานี) | 1.เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้เยาวชน ได้มีการ ออกกำลังกายและเล่นกีฬา 2.เพื่อเตรียมความพร้อมของนักกีฬาก่อนการ แข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติ 3.เพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะนักกีฬา จังหวัดสุราษฎร์ธานี สู่ความเป็นเลิศ 4.เพื่อเพิ่มเหรียญรางวัลและชื่อเสียงในด้าน กีฬาของจังหวัดสุราษฎร์ธานี 5.เพื่อพัฒนากีฬาสู่ความเป็นเลิศและ การพัฒนาเพื่อยกระดับการกีฬา | สนับสนุนการแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 37 "พัทลุงเกมส์" โดยดำเนินการ ดังนี้ 1. เก็บตัวฝึกซ้อมนักกีฬา ตามแผนการฝึก ซ้อมของผู้ฝึกสอนแต่ละชนิดกีฬา จำนวน 7 วัน 2. ส่งตัวนักกีฬาที่ผ่านการคัดเลือกเป็น ตัวแทนภาค 4 เข้าร่วมการแข่งขันกีฬา เยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 37 รวมผู้ฝึกสอนและนักกีฬาจำนวนทั้งสิ้น 315 คน | 0 | 0 | 0 | 0 | 465,500 | 1. นักกีฬาและผู้ ฝึกสอนเข้าร่วมเก็บ ตัวฝึกซ้อมร้อยละ 100 2. นักกีฬาและผู้ฝึกสอน มีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 | 1.เยาวชนมีการออกกำลังกายและเล่นกีฬา ตามความถนัดมากขึ้น 2.นักกีฬามีความพร้อมก่อนการแข่งขัน โดยนักกีฬามีผลการฝึกซ้อมผ่านเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจำนวนนักกีฬา 3.นักกีฬามีทักษะและศักยภาพในการ แข่งขันในระดับที่ดี 4.แนวทางการพัฒนาบริหารจัดการ การกีฬาสามารถยกระดับการกีฬาสู่ ความเป็นเลิศและเป็นไปตามมาตรฐานสากล 5. ประชาชนได้รับประโยชน์ในส่วนของ ชื่อเสียงในด้านการกีฬาในเขตพื้นที่ รวมถึง สุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์และทักษะ ด้านการกีฬาของเยาวชนในเขตองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น | กองการท่องเที่ยว และกีฬา | |
6 | 7 | 1 | โครงการติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้า เพื่อจ่ายกระแสไฟฟ้า โครงการอนุรักษ์ พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดำริฯ บ้านทุ่งตาหนอน ตำบลคลองชะอุ่น อำเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี (อุดหนุนการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค สาขาอำเภอบ้านตาขุน) | เพื่อให้มีกระแสไฟฟ้าใช้ในการดำเนินการ ภายในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ บ้านทุ่งตาหนอน ตำบลคลองชะอุ่น อำเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี | ติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้า ประกอบด้วย แผนกหม้อแปลงภายใน - ติดตั้งหม้อแปลงระบบ 3 เฟส 33,000-400/230 โวลท์ ขนาด 160 เควีเอ จำนวน 1 เครื่อง พร้อมอุปกรณ์ ป้องกันครบชุด แผนกรื้อถอนหม้อแปลง - รื้อถอนหม้อแปลงเช่า ระบบ 3 เฟส 33,000-400/230 โวลท์ ขนาด 160 เควีเอ จำนวน 1 เครื่อง | 0 | 0 | 0 | 0 | 265,400 | มีหม้อแปลงที่ได้ มาตรฐานตามที่ การไฟฟ้าฯ กำหนด | การใช้งานไฟฟ้าภายในโครงการ อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดำริฯ มีหม้อแปลงที่มี คุณภาพและคงทนในการใช้งาน | สำนักปลัดฯ | |
6 | 8 | 1 | โครงการฝึกอบรมการจัดการของเสีย อันตรายจากชุมชน จังหวัดสุราษฎร์ธานี | 1. เพื่อเพิ่มศักยภาพเจ้าหน้าที่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นและเครือข่ายในพื้นที่ จังหวัดสุราษฎร์ธานีที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และมีส่วนร่วมในการคัดแยกของเสีย อันตรายจากชุมชน 2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและได้มีโอกาส แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการบริหารจัดการ คัดแยกของเสียอันตรายจากชุมชนให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเครือข่าย ในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี | ฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ ของเสียอันตรายจากชุมชน โดยดำเนินการ แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 1 วัน ดังนี้ รุ่นที่ 1 จำนวน 207 คน รุ่นที่ 2 จำนวน 204 คน กลุ่มเป้าหมาย : เจ้าหน้าที่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น และเครือข่ายในพื้นที่จังหวัด สุราษฎร์ธานี จำนวนทั้งสิ้น 411 คน | 0 | 0 | 0 | 0 | 513,800 | ร้อยละ 80 ของ ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความพึงพอใจ ต่อภาพรวมของ โครงการ | 1. เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และเครือข่ายในพื้นที่จังหวัด สุราษฎร์ธานีที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้และมีการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมและมีส่วนร่วมในการ คัดแยกของเสียอันตรายจากชุมชน 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ เครือข่ายในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ที่เข้าร่วมโครงการ มีการดำเนินการ ด้านการจัดการคัดแยกของเสีย อันตรายจากชุมชน อย่างต่อเนื่อง เป็นระบบ | กองสาธารณสุข |